มาทําความรู้จักกับเทคโนโลยีอาร์เอฟไอดี(RFID)กัน
เทคโนโลยีอาร์เอฟไอดี (RFID-Radio frequency identification) คือเทคโนโลยีหนึ่งที่ใช้ในการระบุสิ่งต่างๆ โดยอาศัยคลื่นวิทยุ
ซึ่งต่างจากเทคโนโลยีอื่นๆ เช่น บาร์โค้ดที่อาศัยคลื่นแสง หรือการสแกนลายนิ้วมือ
เป็นต้น
คลื่นวิทยุกับเทคโนโลยีอาร์เอฟไอดี(Radio Frequency and RFID) จากที่กล่าวในขั้นต้นว่า เทคโนโลนีอาร์เอฟไอดี(RFID)
อาศัยคลื่นวิทยุในการทำงาน ดังนั้นเมื่อพูดถึงเทคโนโลยีอาร์เอฟไอดี(RFID)
สิ่งที่ขาดไม่ได้ที่จะต้องกลางถึงคือคลื่นวิทยุ วัสดุที่นำมาใช้กับคลื่นวิทยุย่อมมีผลต่อการใช้งานอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้
ในวัสดุประเภทที่คลื่นวิทยุสามารถผ่านได้สะดวกโดยไม่มีการสุญเสียพลังงานใด
วัสดุเหล่านั้นเรียกว่า RF-lucent หรือ RF-friendly
หากนำ RFID มาใช้กับวัสดุเหล่านี้จะมีผลเสียต่อการใช้งาน อย่างไรก็ตามยังมีวัสดุบางประเภทที่เป็นอุปสรรคในการนำ RFID มาใช้งาน วัสดุประเภทแรกเรียกว่า RF-opaque วัสดุประเภทนี้จะหักเหคลื่นวิทยุหรือทำให้คลื่นวิทยุกระจัดกระจายออกไป ส่วนวัสดุอีกประเภทเรียกว่า RF-absorbent คลื่นวิทยุสามารถที่จะผ่านวัสดุประเภทนี้ได้ แต่อย่างไรก็ตามคลื่นที่ผ่านมานั้นจะถูกดูดซับไว้หมด หรือต้องสูญเสียพลังงานมากในการที่จะทะลุผ่านได้ ถึงแม้ว่า วัสดุแต่ละประเภทจะมีผลต่อคลื่นวิทยุ อย่างไรก็ตามวัสดุประเภทหนึ่งจะมีผลต่อคลื่นวิทยุแต่ละช่วงความถี่แตกต่างกัน วัสดุนั้นอาจจะมีลักษณะเป็น RF-lucent ในคลื่นความถี่หนึ่ง ในขณะที่วัสดุเดียวกันนี้อาจจะเป็น RF-opaque หรือ RF-absorbent ในคลื่นความถี่ในช่วงอื่นก็ได้ ดังตัวอย่างต่อไปนี้
หากนำ RFID มาใช้กับวัสดุเหล่านี้จะมีผลเสียต่อการใช้งาน อย่างไรก็ตามยังมีวัสดุบางประเภทที่เป็นอุปสรรคในการนำ RFID มาใช้งาน วัสดุประเภทแรกเรียกว่า RF-opaque วัสดุประเภทนี้จะหักเหคลื่นวิทยุหรือทำให้คลื่นวิทยุกระจัดกระจายออกไป ส่วนวัสดุอีกประเภทเรียกว่า RF-absorbent คลื่นวิทยุสามารถที่จะผ่านวัสดุประเภทนี้ได้ แต่อย่างไรก็ตามคลื่นที่ผ่านมานั้นจะถูกดูดซับไว้หมด หรือต้องสูญเสียพลังงานมากในการที่จะทะลุผ่านได้ ถึงแม้ว่า วัสดุแต่ละประเภทจะมีผลต่อคลื่นวิทยุ อย่างไรก็ตามวัสดุประเภทหนึ่งจะมีผลต่อคลื่นวิทยุแต่ละช่วงความถี่แตกต่างกัน วัสดุนั้นอาจจะมีลักษณะเป็น RF-lucent ในคลื่นความถี่หนึ่ง ในขณะที่วัสดุเดียวกันนี้อาจจะเป็น RF-opaque หรือ RF-absorbent ในคลื่นความถี่ในช่วงอื่นก็ได้ ดังตัวอย่างต่อไปนี้
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น